ภารกิจ บทบาท
มุ่งเน้นการดำเนินงานวิจัยและพัฒนาด้านการออกแบบทางวิศวกรรมการผลิตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีวัสดุ โดยมีเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมของประเทศ เป็นการนำความรู้ ความเข้าใจจากผลงานวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีคุณค่า ทั้งในรูปของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ อาทิ เครื่องมือ อุปกรณ์ระบบต่าง ๆ รวมถึงการพัฒนาซอฟต์แวร์ และกระบนการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูง
งานวิจัย & เทคโนโลยีหลัก
• การวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ CAE (ดร. สมบูรณ์ โอตรวรรณะ)
• ซอฟต์แวร์ CAE เพื่อการเรียนรู้ (ดร. สมบูรณ์ โอตรวรรณะ)
• รถพยาบาลโครงสร้างปลอดภัย (ดร. ศราวุธ เลิศพลังสันติ ดร. สิทธิกร ลาภาพงศ์ และ นายประสิทธิ์ วัฒนวงศ์สกุล)
• รถบรรทุกเพื่อการเกษตร (ดร. ศราวุธ เลิศพลังสันติ ดร. ฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุล และ นายพีรกิตติ์ วิริยะรัตนศักดิ์)
• การวิเคราะห์โครงสร้างอากาศยานไร้คนขับแบบปีกนิ่ง (ดร. สิทธิกร ลาภาพงศ์)
• การพัฒนาต้นแบบระบบอัตโนมัติสำหรับกำจัดคราบฟิลม์น้ำยางบนจานเครื่องปั่นน้ำยางข้น (ดร. จอมขวัญ มั่นแน่)
• การปรับปรุงความแข็งแรงของแผงระเหยที่ใช้กับก๊าซเหลว (นายณรงค์ พิทักษ์ทรัพย์สิน)
• การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ (ดร. สิทธา สุขกสิ และ ดร. ศราวุธ เลิศพลังสันติ)
• การออกแบบและพัฒนาผลิตยางมาสเตอร์แบตช์ (masterbatch)
• เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติสำหรับยางธรรมชาติ
• ต้นแบบเครื่องตรวจจับการเสียสภาพของน้ำยางข้น (MST) อัตโนมัติ
• ต้นแบบระบบอัตโนมัติสำหรับกำจัดคราบฟิล์มน้ำยางบนจานเครื่องปั่นน้ำยางข้น
• การพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อการทำงานร่วมกับมนุษย์ (collaborative robot)
• การพัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพหน้าจอสัมผัสด้วยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ด้วยภาพ
• การพัฒนาสื่อการเรียนรู้แนวสะเต็มศึกษา (STEM education) โดยการใช้ micro-controller สำหรับเครื่องยิงลูกบอลแบบ projectile
• เทคโนโลยีการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสุด (additive manufacturing) สำหรับโลหะและคอมโพสิตของโลหะ
• การสร้างแบบจำลองปืนฉีดน้ำเพื่อล้างเตาเผา
• การสร้างแบบจำลองการปล่อยอนุภาคสำหรับการสอบเทียบย้อนกลับในการผลิตยางมาสเตอร์แบตช์ (masterbatch)
• การทำนายสมบัติเชิงกลของวัสดุจากภาพ CT สามมิติ
• การทดสอบความล้าตามมุมในเชิงพลวัตของล้ออะลูมิเนียมอัลลอยโดยใช้เทคนิควิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ (finite element analysis)
• การจัดทำระบบโครงข่ายประสาทเทียม (artificial neural network) สำหรับการวิเคราะห์อัตราการขยายตัวสภาพการกัดกร่อนของท่อนำส่งก๊าซ
• การประมาณค่าสถานะประจุของแบตเตอรี่โดยระเบียบวิธีโครงข่ายประสาทเทียม ร่วมกับการแปลงแบบเวฟเล็ต (wavelet-based artificial neural network)
• ระบบพยากรณ์สภาพภูมิอากาศบนพื้นที่สูงของประเทศไทย
• แอพลิเคชั่นสำหรับระบบการจัดการปุ๋ยและการพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนเพื่อเกษตรกรปาล์มน้ำมัน
• Design guideline สำหรับกระบวนการขึ้นรูปแบบ Roll form (ดร. สุธี โอฬารฤทธินันท์)
• การสร้างแบบจำลองงานเชื่อมวัสดุต่างชนิดกัน (dissimilar materials joining)
ติดต่อหน่วยวิจัย
ฝอยฝน ศรีสวัสดิ์ (ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส)
foifons@mtec.or.th
โทรศัพท์ : 0 2564 6500 ext. 4349
โทรสาร : 0 2564 6370
ทีมวิจัยในกลุ่มวิจัยการออกแบบเชิงวิศวกรรมและการคำนวณ
ทีมวิจัยวิศวกรรมน้ำหนักเบา
ทีมวิจัยวิศวกรรมน้ำหนักเบา
Click Hereทีมวิจัยคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณทางวิศวกรรม
ทีมวิจัยคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณทางวิศวกรรม
Click Here
ทีมวิจัยการออกแบบ
และแก้ปัญหาอุตสาหกรรม
ทีมวิจัยการออกแบบ
และแก้ปัญหาอุตสาหกรรม
Click Here
ทีมวิจัยระบบวิศวกรรมขั้นสูง
ทีมวิจัยระบบวิศวกรรมขั้นสูง
Click Hereทีมวิจัยการออกแบบเพื่อการเป็นอยู่ที่ดี
ทีมวิจัยการออกแบบเพื่อการเป็นอยู่ที่ดี
Click Hereทีมวิจัยเทคโนโลยียานยนต์และการขับขี่
ทีมวิจัยเทคโนโลยียานยนต์และการขับขี่
Click Hereทีมวิจัยวัสดุเฉพาะทางสำหรับการประยุกต์ใช้ทางวิศวกรรม
ทีมวิจัยวัสดุเฉพาะทางสำหรับการประยุกต์ใช้ทางวิศวกรรม
Click Here