ซิลิโคนโพลิเมอร์กับการประยุกต์ใช้งานด้านพื้นผิววัสดุ
ซิลิโคนโพลิเมอร์จัดเป็นหนึ่งในกลุ่มสารประกอบโพลิเมอร์ที่ได้รับความนิยมกว้างขวาง ไม่ว่าจะใช้เคลือบผิวในรูปของสี (paints) ผสมเป็นหมึก (inks) ทำเป็นสารชุบแข็ง (hardeners) ขึ้นรูปเป็นเนื้อฟิล์ม (films) หรือแผ่นโพลิเมอร์ (sheets)
สิ่งทออัจฉริยะต้านแบคทีเรียและนำไฟฟ้าซึ่งใช้ตรวจติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้
สิ่งทออัจฉริยะ (smart textiles) เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีหลายสาขามาพัฒนาให้สิ่งทอมีสมบัติพิเศษซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้สวมใส่ อย่างเช่น ผลงานของทีมวิจัยนานาชาติจากประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเกาหลีใต้ ที่นำสิ่งทอนำไฟฟ้าและมีสมบัติต้านแบคทีเรียไปประยุกต์ใช้เพื่อตรวจติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้
เปลี่ยนขยะพลาสติกไปเป็นส่วนผสมของยาด้วยเชื้อรา
พลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีการคาดการณ์ว่าปี พ.ศ.2583 จะมีการผลิตพลาสติกทั่วโลกถึง 1.1 ล้านตันต่อปี วงจรสุดท้ายของผลิตภัณฑ์พลาสติกมักจบลงด้วยการฝังกลบหรือถูกทิ้งลงในมหาสมุทร ซึ่งเป็นการคุกคามระบบนิเวศวิทยาและแหล่งอาหารของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลาสติกที่ได้รับความนิยมอย่างโพลิเอทิลีนซึ่งเหนียวและทนทาน
ผลิตภัณฑ์พลาสติกบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน
จากการบรรยายเรื่องความซับซ้อนและความสามารถในการรีไซเคิลของพลาสติก (Complexity & Recyclability Aspect) โดย ดร.อศิรา เฟื่องฟูชาติ นักวิจัยอาวุโสและผู้อำนวยการหน่วยวิจัยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ในการฝึกอบรมหลักสูตรเข้มข้น (Intensive Course Report) ในหัวข้อ “การออกแบบผลิตภัณฑ์พลาสติกตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Designing Plastic Products in Circular Economy)”
‘Lookie Waste’ ลดขยะอาหารง่ายๆ ด้วยปลายนิ้ว
Lookie Waste สามารถประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากขยะอาหารและบรรจุภัณฑ์ในหน่วยเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2-eq) คาดการณ์ผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์เป็นจำนวนเงินที่ผู้บริโภคต้องสูญเสีย โดยคำนวณจากราคากลางของส่วนผสมในแต่ละเมนู และผลกระทบด้านสังคม
ลดขยะอาหาร = ลดโลกร้อน
การสูญเสียอาหาร (food loss) และขยะอาหาร (food waste) ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพราะก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกถึงร้อยละ 8 (~4.4 GtCO2eq) ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด
‘ChemSHERPA’ เครื่องมือในสื่อสารข้อมูลสารเคมีในผลิตภัณฑ์เพื่อความปลอดภัย
chemSHERPA เป็นเครื่องมือสำหรับการจัดการและสื่อสารข้อมูลสารเคมีในผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาโดย JAMP (Joint Article Management Promotion-consortium) ได้รับการสนุนงบประมาณจากกระทรวง METI ประเทศญี่ปุ่น โดยเวอร์ชั่นล่าสุดคือ chemSHERPA (version V2R1)
‘คาร์บอนจับคาร์บอน’ รับมือ ‘โลกร้อน’
เทคโนโลยีดักจับ CO2 ในปัจจุบันนิยมใช้สารเอมีน (amine) ที่อยู่ในสถานะของเหลว วิธีนี้มีต้นทุนสูง ใช้พื้นที่มาก อีกทั้งยังมีปัญหาการนำเอมีนกลับมาใช้ซ้ำ
น้ำยางพาราข้นชนิดแอมโมเนียต่ำมาก (ULA) สำหรับทำผลิตภัณฑ์ Para AC ในอุตสาหกรรมก่อสร้างถนน
การผลิตแอสฟัลต์ซีเมนต์ (Para AC) โดยใช้น้ำยางพาราข้นเป็นวัตถุดิบที่อุณหภูมิ 140-160 องศาเซลเซียส มักเกิดปัญหาการไอระเหยของแอมโมเนียซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม...
28 September 2021เม็ดมวลเบาสังเคราะห์ (G-Rock)
อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างมักมีความต้องการใช้วัสดุที่มีน้ำหนักเบาและแข็งแรง เพื่อตอบโจทย์การใช้งานด้านต่างๆ รวมทั้งการประหยัดพลังงาน โดยเฉพาะในผลิตภัณฑ์ประเภทคอนกรีต เนื่องจากวัสดุมวลรวมตามธรรมชาติ...
27 September 2021เซโนสเฟียร์จากเถ้าลอย
เถ้าลอย (fly ash) เป็นเถ้าถ่านหินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นวัตถุพลอยได้ (by-product) ที่เกิดจากกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยการใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้(combustion process)...
23 August 2021คิทเพาะ : อุปกรณ์เพาะธัญพืชงอก
จีโอโพลิเมอร์(Geopolymer) คือสารอนินทรีย์ที่มีโครงสร้างหลักเป็นสารประกอบของซิลิคอนไดออกไซด์(SiO2)และอะลูมิเนียมออกไซด์(Al2O3)จึงมีสมบัติเช่นเดียวกับเซรามิกทั่วไป...
23 August 2021ความปลอดภัยในยานยนต์ไฟฟ้า การแปลงสภาพจากรถใช้น้ำมันสู่รถใช้ไฟฟ้า
รายการ ก่อ กอง Science ครั้งนี้เราคุยกับนักวิจัยที่เป็นวิศวกรเครื่องกลและยานยนต์ ดร.ฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุล หรือ ดร.ฉัตร จากกลุ่มวิจัยการออกแบบและแก้ปัญหาอุตสาหกรรม เอ็มเทค...
11 August 2021กระเบื้องจีโอโพลิเมอร์ลายหิน
จีโอโพลิเมอร์(Geopolymer) คือสารอนินทรีย์ที่มีโครงสร้างหลักเป็นสารประกอบของซิลิคอนไดออกไซด์(SiO2)และอะลูมิเนียมออกไซด์(Al2O3)จึงมีสมบัติเช่นเดียวกับเซรามิกทั่วไป...
19 July 2021กระบวนการทำงานแบบ Human-centric Design
รายการก่อ กอง Science ครั้งนี้ ชวนคุณผู้ฟังคุยกับ ดร.สิทธา สุขกสิ หรือ ดร.ต้น นักวิจัย วิศวกร และนักประดิษฐ์ที่มากความสามารถจากทีมวิจัยการออกแบบและแก้ปัญหาอุตสาหกรรม...
14 July 2021นวัตกรรมการผลิตยางก้อนถ้วยและยางแท่งไร้กลิ่น
ยางก้อนถ้วย คือยางที่เกิดจากการจับตัวของน้ำยางให้กลายเป็นก้อนในถ้วย และเป็นวัตถุดิบหลักของการผลิตยางแท่ง STR10 และ STR20...
14 July 2021น้ำยางพาราฟิต (ParaFIT)
น้ำยางพาราข้นเป็นวัตถุดิบสำคัญที่ใช้ทำผลิตภัณฑ์โฟมยางพารา แต่น้ำยางพาราข้นที่ใช้ในปัจจุบันมีส่วนผสมของแอมโมเนีย ซิงค์ออกไซด์ และเตตระเมทิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำยางเกิดการบูดเน่า...
14 July 2021