โพลิเมอร์
                             

ผลิตภัณฑ์พลาสติกบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน

สืบเนื่องจากการบรรยายเรื่องความซับซ้อนและความสามารถในการรีไซเคิลของพลาสติก (Complexity & Recyclability Aspect) โดย ดร.อศิรา เฟื่องฟูชาติ นักวิจัยอาวุโสและผู้อำนวยการหน่วยวิจัยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ในการฝึกอบรมหลักสูตรเข้มข้น (Intensive Course Report) ในหัวข้อ “การออกแบบผลิตภัณฑ์พลาสติกตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Designing Plastic Products in Circular Economy)” ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1–2, 9–10, 16 และ 23 มิถุนายน 2564 ผู้เขียนจึงขอดึงประเด็นสำคัญมาเล่าในรูปแบบของการถาม-ตอบ

เปลี่ยนขยะพลาสติกไปเป็นส่วนผสมของยาด้วยเชื้อรา

พลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีการคาดการณ์ว่าปี พ.ศ.2583 จะมีการผลิตพลาสติกทั่วโลกถึง 1.1 ล้านตันต่อปี วงจรสุดท้ายของผลิตภัณฑ์พลาสติกมักจบลงด้วยการฝังกลบหรือถูกทิ้งลงในมหาสมุทร ซึ่งเป็นการคุกคามระบบนิเวศวิทยาและแหล่งอาหารของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลาสติกที่ได้รับความนิยมอย่างโพลิเอทิลีนซึ่งเหนียวและทนทาน

สิ่งทออัจฉริยะต้านแบคทีเรียและนำไฟฟ้าซึ่งใช้ตรวจติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้

สิ่งทออัจฉริยะ (smart textiles) เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีหลายสาขามาพัฒนาให้สิ่งทอมีสมบัติพิเศษซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้สวมใส่ อย่างเช่น ผลงานของทีมวิจัยนานาชาติจากประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเกาหลีใต้ ที่นำสิ่งทอนำไฟฟ้าและมีสมบัติต้านแบคทีเรียไปประยุกต์ใช้เพื่อตรวจติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้

ผลิตภัณฑ์ถุงมือยางธรรมชาติโปรตีนต่ำ(enR/ProX)

ถุงมือยางเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นปลายน้ำของอุตสาหกรรมยางโดยผลิตจากน้ำยางข้น อุตสาหกรรมถุงมือยางของไทยมีสัดส่วนการใช้ยางธรรมชาติร้อยละ 10.88 ดังนั้นเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ยางสำเร็จรูปอื่นๆ อุตสาหกรรมถุงมือยางจึงนับว่ามีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งในแง่การสร้างมูลค่าเพิ่ม

น้ำยางพาราข้นชนิดแอมโมเนียต่ำมาก (ULA) สำหรับทำผลิตภัณฑ์ Para AC ในอุตสาหกรรมก่อสร้างถนน

น้ำยางพาราข้นชนิดแอมโมเนียต่ำมาก (ULA) สำหรับทำผลิตภัณฑ์ Para AC ในอุตสาหกรรมก่อสร้างถนน
การผลิตแอสฟัลต์ซีเมนต์ (Para AC) โดยใช้น้ำยางพาราข้นเป็นวัตถุดิบที่อุณหภูมิ 140-160 องศาเซลเซียส มักเกิดปัญหาการไอระเหยของแอมโมเนียซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม…