ซิลิโคนโพลิเมอร์กับการประยุกต์ใช้งานด้านพื้นผิววัสดุ
ซิลิโคนโพลิเมอร์จัดเป็นหนึ่งในกลุ่มสารประกอบโพลิเมอร์ที่ได้รับความนิยมกว้างขวาง ไม่ว่าจะใช้เคลือบผิวในรูปของสี (paints) ผสมเป็นหมึก (inks) ทำเป็นสารชุบแข็ง (hardeners) ขึ้นรูปเป็นเนื้อฟิล์ม (films) หรือแผ่นโพลิเมอร์ (sheets)
เม็ดมวลเบาสังเคราะห์ (G-Rock)
อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างมักมีความต้องการใช้วัสดุที่มีน้ำหนักเบาและแข็งแรง เพื่อตอบโจทย์การใช้งานด้านต่างๆ รวมทั้งการประหยัดพลังงาน โดยเฉพาะในผลิตภัณฑ์ประเภทคอนกรีต เนื่องจากวัสดุมวลรวมตามธรรมชาติ
เซโนสเฟียร์จากเถ้าลอย
เถ้าลอย (fly ash) เป็นเถ้าถ่านหินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นวัตถุพลอยได้ (by-product) ที่เกิดจากกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยการใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้(combustion process)
เซรามิกพรุน
เซรามิกพรุนเป็นเซรามิกที่โครงสร้างมีรูพรุนหรือช่องว่างภายในเนื้อหลังการเผา รูพรุนมีทั้งแบบเปิดและแบบปิด กรณีรูพรุนแบบเปิด อนุภาคของของเหลวหรือแก๊สที่มีขนาดเล็กกว่าสามารถแทรกซึมเข้าไปตามรูพรุนได้
‘Lookie Waste’ ลดขยะอาหารง่ายๆ ด้วยปลายนิ้ว
Lookie Waste สามารถประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากขยะอาหารและบรรจุภัณฑ์ในหน่วยเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2-eq) คาดการณ์ผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์เป็นจำนวนเงินที่ผู้บริโภคต้องสูญเสีย โดยคำนวณจากราคากลางของส่วนผสมในแต่ละเมนู และผลกระทบด้านสังคม
ลดขยะอาหาร = ลดโลกร้อน
การสูญเสียอาหาร (food loss) และขยะอาหาร (food waste) ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพราะก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกถึงร้อยละ 8 (~4.4 GtCO2eq) ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด
‘ChemSHERPA’ เครื่องมือในสื่อสารข้อมูลสารเคมีในผลิตภัณฑ์เพื่อความปลอดภัย
chemSHERPA เป็นเครื่องมือสำหรับการจัดการและสื่อสารข้อมูลสารเคมีในผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาโดย JAMP (Joint Article Management Promotion-consortium) ได้รับการสนุนงบประมาณจากกระทรวง METI ประเทศญี่ปุ่น โดยเวอร์ชั่นล่าสุดคือ chemSHERPA (version V2R1)
‘คาร์บอนจับคาร์บอน’ รับมือ ‘โลกร้อน’
เทคโนโลยีดักจับ CO2 ในปัจจุบันนิยมใช้สารเอมีน (amine) ที่อยู่ในสถานะของเหลว วิธีนี้มีต้นทุนสูง ใช้พื้นที่มาก อีกทั้งยังมีปัญหาการนำเอมีนกลับมาใช้ซ้ำ