รางวัลเกียรติยศ
ระดับ นานาชาติ
ประเภท:
ผลงานวิจัย
ผลงานที่ได้รับรางวัล:
Effect of carbon addition on microstructure and properties of boron-containing steel sintered under different atmospheres
นักวิจัยเจ้าของผลงาน:
1. ดร. เรืองเดช ธงศรี ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีกระบวนการผลิตวัสดุผง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
2. นาง นาตยา ต่อแสงธรรม ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีกระบวนการผลิตวัสดุผง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
3. นาย มนภาส มรกฎจินดา ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีกระบวนการผลิตวัสดุผง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
4. นาง ธัญพร ยอดแก้ว ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีกระบวนการผลิตวัสดุผง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
5. นาย พงษ์ศักดิ์ วิลา ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีกระบวนการผลิตวัสดุผง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
6. ผศ.ดร.วันทนา เกิดนิยม ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
7. นางสาวพิสมร จันทะเวช ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
ชื่อรางวัลและเกียรติยศที่ได้รับ:
POSTER PRESENTATION AWARD
หน่วยงานที่ให้รางวัลและเกียรติยศ:
วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผู้มอบ:
ผศ.ดร.อนุชิต จารุวนาวัฒน์ คณบดี วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง
พิธีมอบรางวัลและเกียรติยศ:
งาน International Conference on Science and Technology of Emerging Materials 2018
สถานที่ :
โรงแรม ฮอลิเดย์ อินน์ จังหวัดชลบุรี
วันที่ :
20 กรกฎาคม 2018
ที่มาและความสำคัญของรางวัล
The success of liquid phase sintering by B addition has some limitations and it is difficult to control in practice especially in the iron PM steels consisting of alloy elements such as C or Mo due to B can form stable phases with another elements result in alters the phase composition in both matrix and boride network. Carbon plays important roles in both matrix microstructural development and intergranular liquid phase formation and boron can react with constituents of the sintering atmosphere such as hydrogen to form volatile.
รายละเอียดโครงการ/ผลงานที่ได้รับรางวัล
This work aims to investigate the sintered Fe-1.5Mo-0.22B-xC steels (x = 0.1-0.4 wt.%) sintered under hydrogen and vacuum atmospheres. It was found that the hydrogen-sintered Fe-1.5Mo-0.22B-xC steels hardly showed evidences of intergranular liquid phase whereas the vacuum-sintered steels showed clear evidences of intergranular boride. Deboronization was believed to contribute to the intergranular boride absence in the hydrogen-sintered steels. For reaching the optimal combination of density, strength, and ductility, boron should be sufficiently low that only local boride eutectic remains and formation of interconnected areas is impeded.