News

ตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับ TBBPA

Tetrabromo-Bisphenol A หรือ TBBPA (CAS No. 79-94-7) เป็นสารหน่วงการติดไฟ ที่มีใช้ทั้งแบบ Reactive Flame Retardant (สารที่ใส่เข้าไปแล้วทำปฏิกิริยากับเนื้อวัสดุ และเมื่อ Cure ได้ที่ตามสูตรผสมแล้วจะได้สารเคมีชนิดใหม่ที่ไม่ใช่ TBBPA) และ แบบ Additive Flame Retardant ที่เป็นสารเติมแต่งที่ผสมในเนื้อวัสดุแบบไม่ทำปฏิกิริยา (คล้าย PBDE)    จากข้อมูลของ IARC ระบุว่าประมาณกว่าครึ่ง (58%) ของ TBBPA ที่มีการผลิตขึ้น ถูกใช้เป็นสารหน่วงการติดไฟ (Reactive flame retardant) ในวัสดุกลุ่มอีพอกซี่ โพลิคาร์บอเนต (PC) และฟีโนลิก ซึ่งเป็นวัสดุหลักที่ใช้ผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ และ IC (Molded Resins) TBBPA อีกประมาณ 18% ถูกใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตสารประกอบ TBBPA ชนิดอื่น (บางตัวเช่น TBB_A-DBPE (Tetrabromobisphenol A bis (2,3-dibromopropyl ether) ผลิตเพื่อนำมาใช้เป็นสารหน่วงการติดไฟเช่นกัน) และอีกประมาณ 18% ถูกนำไปใช้เป็นสารหน่วงการติดไฟแบบ Additive Flame Retardant คล้าย PBDE โดยมีใช้ผสมใน ABS และ HIPS  ในช่วงที่ PBDE ถูกกำหนดเป็นสารต้องห้าม ผู้ผลิตจำนวนหนึ่งหันมาใช้ TBBPA เป็นสารทดแทน ทำให้ในปัจจุบัน โอกาสที่จะพบชิ้นส่วน/สินค้า ที่มี TBBPA ในตัวจะมีมากกว่า PBDE ไปแล้ว    FacebookfacebookLINEline

Read More »

Events

NSTDA Annual Conference-NAC2023 และ MTEC จัด Circular Economy Talks

สวทช. จัดงานประชุมวิชาการประจำปี 2566 (NAC2023) ในธืม สวทช. ขุมพลังหลัก วทน. เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG สู่ความยั่งยืน โดยร่วมงานกับหน่วยงานพันธมิตร เพื่อให้งานประชุมนี้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ การพบปะเชื่อมโยงของทุกภาคส่วน

Read More »

Hot topics

UNIDO-PFAS

Guideline to identify and register foams containing PFAS in The Provision of Service for: Survey and registration of firefighting foam containing PFOS, PFOA and PFHxS in Thailand FacebookfacebookLINEline

Read More »

SMARTCirc

Materials Informatics & AI for safe (material) circulation: Phase 1 Plastics value network FacebookfacebookLINEline

Read More »